วันจันทร์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2553

บทที่ 10

กฎหมายสำคัญของไทยที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
1.กฎหมายเกี่ยวกับองค์การที่ดูแลสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยทั่วไป
1.1พระราชบัญญัติการท่อวเที่ยวแห่งประเทศไทย พ.ศ.2522
1.2 พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545
1.3 พระราชบัญญัติสภาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พ.ศ.2544
1.4 พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537
2.กฎหมายควบคุมนักท่องเที่ยว
2.1 พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2523 , 2523 และ 2542
2.2 พระราชบัญญัติศุลการ พ.ศ.2469 ถึง 2548
3.กฎหมายควบบคุมดูแล และ พัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยว
3.1 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504
3.2 พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 และ 2546
3.3 พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2484 , 2522 , และ 2525
3.4 พระราชบัญญัติป่าไม้
3.5 พระราชบัญญัติแร่
3.6 ประมวลกฤหมายที่ดิน
3.7 พระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2485
3.8 พระราชบัญญัติรักษาคลอง รศ. 121
3.9 พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พ.ศ.2535

บทที่ 9

ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ผลกระทบจากการท่องเที่ยวต่อเศรษฐกิจ
ด้านบวก
1.ช่วยทำให้เกิดรายได้แก่ท้องถิ่นภายในประเทศ
2.ช่วยทำให้เกิดรายได้ต่อรัฐบาล
3.ช่วยให้เกิดการจ้างงาน
4.ช่วยให้เกิดอาชีพใหม่
5.ช่วยให้เกิดรายรับเงินตราตต่างประเทศ
6.ช่วยให้เกิดภาวะดุลชำระเงิน
ด้านลบ
1.ค่าครองชีพของคนในพื้นที่เพิ่มสูงขึ้น
2.ราคาที่ดินแพงขึ้น
3.มีค่าใช้จ่ายต่างๆที่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศเพื่อตอบสนองความต้องการนักท่องเที่ยวต่างชาติ
4.ทำให้เสียสูญรายได้ออกนอกประเทศ
5.รายได้จากธุรกิจท่องเที่ยวต่างๆ เป็นไปคามฤดูกาล
ผลกระทบจากการท่องเที่ยว
ด้านบวก
1.เป็นการพักผ่อนหย่อนใจ ลดความตรึงเครียด
2.ช่วยให้เกิดสันติภาพ
3.ช่วยประชาชนได้เห็นถึงความสำคัญของศิลปวัฒนธรรมประเพณี
4.มาตรฐานการครองชีพดีขึ้น
5.คนในท้องถิ่นได้รับความสะดวกสบายมากขึ้น
6.ช่วยเสริมอาชีพให้คนในท้องถิ่น
7.ช่วยให้สภาพแวลล้อมของท้องถิ่นดีขึ้น
8.การเดินทงท่องเที่ยวจะช่วยให้เกิดสันติภาพแห่งมวลมนุษย์
9.การท่องเที่ยวจะช่วยลดปัญหาการอพยพเข้าไปทำงานในเมืองหลวง
ด้านลบ
1.ความรู้สึกที่ไม่ดีต่อคนในท้องถิ่นจากนักท่องเที่ยว ทำให้คนในท้องถิ่นรู้สึกว่าตัวเองเป็นคนชอบต่ำต้อย
2.การมีค่านิยมผิดๆ
3.โครงสร้างครอบครัวเปลี่ยนแปลงไป
4.การลบเลือนของอาชีพดั้งเดิมของท้องถิ่น
5.ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม
6.ปัญหาโสณีและเพศพาณิชย์
7.ปัญหาการบิดเบือนหลอกลวงเอารัดเอาเปรียบนักท่องเที่ยว
8.ปัญหาความไม่เข้าใจและการขัดแย้งระหว่างคนท้องถิ่นกับนักท่องเที่ยว
9.ช่วยให้เกิดการก่อสร้างสิ่งดึงดูดใจด้านการพักผ่อนในพื้นฐาน
10.ปัญหาต่างๆเช่น ปัญหายาเสพติด
ผลกระทบจากการท่องเที่ยวต่อวัฒนธรรม
ด้านบวก
1.เกิดงานเทศกาลเกี่ยวกับการท่องเที่ยว
2.มีแหล่ท่องเที่ยวเชิงศาสนาและนักท่องเที่ยวนิยมมากขึ้น
3.ช่วยเผยแพร่เอกลักษณ์ประเทศ
ด้านลบ
1.คุณค่าของงานศิลปะลดลง
2.วัฒนธรรมประเพณีที่ถูกนำเสนอขายในรูปแบบของสินค้า
3.วัฒนะรรมของนักท่องเที่ยวมีบทบาทในการรับวัฒนธรรมใหม่
4.เกิดการตระหนักทางวัฒนธรรม
5.การยอมรับพฤติกรรมและเลียนแบบพฤติกรรมนั้น

วันเสาร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2553

บทที่ 8

ธุรกิจอื่นๆ และองค์ประกอบเสริมในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว



ธุรกิจบริการอาหารและเครื่องดื่ม มีอยู่ 7 ประเภทใหญ่ๆดังนี้


1.ธุรกิจอาหารจานด่วน : เป็นธุรกิจอาหารที่กำลังได้รับความนิยมและขยายตัวอย่างรวดเร็ว แล้วจะเปิดบริการเป็นระยะเวลาหลายชั่วโมงต่อวันและเปิดทุกวัน และจะไม่มีการบริการเครื่องดื่มจำพวกแอลกอฮอล์


2.ธุรกิจอาหารสำเร็จรูปเดลี่ : เป็นธุรกิจที่ผสมผสานการใช้บริการอหารแช่แข็ง ปัจจุบันเป้นที่นิยมมาก เพราะการลงทุนต่ำแล้วส่วนใหญ่เจ้าของกิจการเป็นผู้ขายเอง


3.ธุรกิจอาหารบุฟเฟ่ : เป็นธุรกิจอาหารแบบบริการตนเอง ซึ่งราคาตั้งไว้ราคาเดียวและราคาไม่สูงมาก ส่วนมากเน้นกลุ่มลูกค้าที่เป็นครอบครัว


4.ธุรกิจคอฟฟี่ช้อป : เน้นการบริการอาหารแบบรวดเร็ว ส่วนใหญ่จะให้บริการอาหารที่เคาเตอร์บริการ การตกแต่งร้านเป็นแบบเรียบง่าย


5.ธุรกิจคาเฟทีเรีย : เป็นธุรกิจอาหารแบบบริการตัวเอง ร้านควรมีพื้นที่กว้างสำหรับเตรียมอาหาร เพื่อรองรับลูกค้า จำนวนมากที่ต้องการความรวดเร็ว ดังนั้นการฝึกฝนพนักงานบริการอย่างรวดเร็วจึงค่อนข้างจำเป็น


6.ธุรกิจอาหารกูเมต์ : เป็นธุรกิจที่เน้นการบริการในระดับสูง ทั้งด้านอาหาร การบริการของพนักงาน และการตกแต่งสถานที่แบบหรูหรา มักเน้นกลุ่มลูกค้าระดับสูง


7.ธุรกิจอาหารเฉพาะกลุ่มเชื้อชาติ : เป้นธุรกิจที่บริการอาหารเฉพาะรายการประจำท้องถิ่นหรือประจำชาติ พนักงานเน้นลักษณะประจำชาติหรือลักษณะของท้อถิ่นนั้นๆ


ธุรกิจนันทนาการ
1.ธุรกิจสวนสนุก : มี 2 ประเภท 1.สวนสนุก 2.สวนสนุกรูปแบบเฉพาะ
2.ธุรกิจบันเทิง
3.ธุรกิจการกีฬาเพื่อการท่องเที่ยว

บทที่ 7

ตัวแทนจำหน่ายการท่องเที่ยว
แทรเวล เอเจนซี่ หมายถึง ธุรกิจขายปลีกที่ได้รับอนุญาตให้ขายผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวแทนผู้ประกอบธุรกิจ
บทบาทหน้าที่ของแทรเวล เอเจนซี่
1.จัดหาราคาหรืออัตรสินค้าทางการท่องเที่ยว
2.ทำการจอง
3.รับชำระเงิน
4.ทำการส่งบัตรโดยสารหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเดินทาง
5.ช่วยเหลือลูกค้าในการซื้อสินด้าและบริการทางการท่องเที่ยว
6.ช่วยดำเนินการในการซื้อบีตรโดยสาร
7.ออกบัตรโดยสารเครื่องบินและเอกสารอื่นๆ
ประโยชน์ขอกการใช้บริการของแทรเวล เอเจนซี่
1.มีความชำนาญในการหาข้อมูลและวางแผนการท่องเที่ยว
2.สามารถหาข้อมูลหรือราคาที่ดีที่สุด
3.ช่วยประหยัดเวลาและความลำบาก
4.แก้ปัญหาได้เมื่อเกิดข้อผิดพลาดหรือปัญหา
5.รู้จักผู้ประกอบการะรกิจมากกว่า
6.รู้จักแหล่งท่องเที่ยวดีกว่า
ประเภทของแทรเว เอเจนซี่
1.แบบที่มีมาแต่เดิม
2.แบบที่ขายทางอินเตอร์เน็ต
3.แบบที่ชำนาญเฉพาะทาง
4.แบบที่ประกอบธุรกิจจากที่พัก

วันอังคารที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2553

บทที่ 6

ที่พักแรม


ความเป็นมา

ธุรกิจที่พักแรมในสากล/ต่างประเทศ

โรงแรม เป็นธุรกิจที่พักแรมที่สำคัญในปัจบัน คำเรียกที่ว่า htel ศตวรรษที่ 18 กลุ่มหรือเชน โรงแรมที่สำคัญ ได้แก่ Intercontinental , HoIiday Inn , Hilton , Sheraton เป็นต้น



โรงแรม Intercontinental





ธุรกิจที่พักแรมในประเทศไทย

กิจการโฮเต็ลหรือโรงแรมที่สำคัญในอดีตได้แก่


- โอเรียนเต็ลโฮเต็ล : สร้างในสมัยรัชดาที่ 5 โดยกลาสีเรือชาวต่างชาติเป็นเพียงอาคารไม้ชั้นเดียว

- โฮเต็ลหัวหิน : สร้างเสร็จในสมัยรัชกาลที่ 6 โดยกรมรถไฟหลวงจัดเป็นโรงแรมตากอากาศชายทะเลแห่ง แรกของไทย

- โฮเต็ลวังพญาไท : โรงแรสมัยรัชกาลที่ 7 ปรับปรุงจากพระราชวังพญาไท ใช้เป็นที่รับรองแขกต่างชาติ

- โรงแรมรัตนโกสินทร์ : ในสมัยรัชกาลที่ 8 โดยสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เปลี่ยนชื่อ โรงแรมรอยัล


ปัจจัยพื้นฐานในการบริการที่พักแรม


- ความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้พัก


- ความสะอาดและสุขอนามัยในสถานที่พัก อาหาร-เครื่องดื่ม


- ความสะดวก


- บรรยากาศการตกแต่งที่สวยงาม


- ภาพลักษณ์ของกิจการ และ อื่นๆ


ประเภทที่พักแรม


1.โรงแรม

1.1 เกณฑ์การจำแนกประเภทโรงแรม


- ด้านที่ตั้ง


- ด้านขนาด


- ด้านจุดประสงค์ของผู้มาพัก


- ด้านราคา


- ด้านระดับการบริการ


- ด้านการจัดระดับมาตรฐานโดยใช้สัญลักษณ์


2. ที่พักนักท่องเที่ยว

-บ้านพักเยาวชน หรือ โฮสเทล

-ที่พักพร้อมอาหารเช้าราคาประหยัด

-ที่พักริมทางหลวง

-ที่พักแบบจัดสรรเวลาพัก หรือไทม์แชริ่ง

-เกสต์เฮ้าส์

-อาคารชุดบริการที่พักระยะยาว หรือ เซอร์วิสอพาร์ตเมนต์

-ที่พักกลางแจ้ง

-โฮมสเตย์

แผนกงานในโรงแรม

-แผนกงานส่วนตัว

-แผนกงานแม่บ้าน

-แผนกงานอาหารและเครื่องดื่ม

-แผนกขายและการตลาด

-แผนกัญชีและการเงิน

-แผนกทรัพยากรมนุษย์

ประเภทห้องพัก

1.Single ห้องพักสำหรับนอนคนเดียว

2.Twin ห้องพักเตียงคู่แฝด

3.Double ห้องพักเตียงคู่ที่เป็เตียงขนาดใหญ่

4.Suite ห้องชุดที่ภายในประกิบไปด้วยห้องตั้งแต่ 2 ห้องขึ้นไปโดยกั้นเป็นสัดส่วน

วันจันทร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2553

หัวข้อที่รายงาน


สวนสัตว์ดุสิต (เขาดินนวนา)

ประวัติความเป็นมา

สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ภายในบริเวณพระราชวังดุสิต เป็นสวนพฤกษชาติส่วนพระองค์ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 8 ได้ทรงให้ทางเทศบาลกรุงเทพฯ จัดสร้างให้เป็นสวนสัตว์และสถานที่พักผ่อนหย่อนใจสำหรับประชาชนทุกระดับชั้น และมีการปรับปรุงพัฒนาอยู่เรื่อย ๆ ตลอดมา เขาดินเป็นสวนสัตว์ใหญ่ในกลางกรุงเทพฯ มีพื้นที่ 118 ไร่ มีสัตว์ป่าราว ๆ 2,000 ตัว ทั้งที่หายากและเกือบจะสูญพันธุ์แล้ว มีต้นไม้นานาชนิดที่ให้ความร่มรื่นและบึงน้ำขนาดใหญ่ที่สวยงาม เหมาะเป็นที่ศึกษาเรียนรู้ชีวิตสัตว์สำหรับนักเรียน นักศึกษา และเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจสำหรับครอบครัว นักท่องเที่ยว และประชาชนทั่วไป



ไปเที่ยวเขาดิน

สวนสัตว์เขาดินตั้งอยู่บนถนนราชวิถีกับถนนพระราม 5 และถนนอู่ทองใน ใกล้กับพระที่นั่งอนันตสมาคม ประตูทางเข้ามี 4 ทาง จะเข้าจากทางถนนไหนก็ได้ ถ้าเอารถไป มีที่จอดด้านถนนราชวิถี เลยประตูทางเข้า บริเวณฟุตบาทจะทำเป็นช่องเว้าให้รถจอดได้ราว ๆ 20 คัน หรือเลี้ยวเข้าถนนอู่ทองใน ก็สามารถขับขึ้นไปจอดบนฟุตบาทบริเวณด้านหน้าทางเข้าอาคารจอดรถได้ 2 ที่นี้ไม่เสียค่าจอด หรือถ้าต้องการที่จอดในร่มให้เข้าทางถนนอู่ทองใน จะเข้าอาคารที่จอดรถพอดี ค่าจอดรถยนต์ 50 บาท อย่าว่าแพงเลย คิดว่าช่วยบำรุงสวนสัตว์ ซื้ออาหารเลี้ยงสัตว์ก็แล้วกัน

เราซื้อบัตรผ่านประตูและก็ขอแผนผังของเขาดินมาดู เพื่อจะได้เห็นภาพรวมทั้งหมดว่ามีอะไรอยู่ตรงไหนอย่างไร จะได้ตั้งหลักการเดินชมอย่างคร่าว ๆ ได้


แผนผังเขาดิน


ยีราฟ

จรเข้

บทที่ 5

การคมนาคมขนส่ง



พัฒนาการขนส่งทางบก

เริ่มขึ้นในสมัย 200 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งใช้คนลากรถสองล้อ จากนั้นก็เปลี่ยนรถสี่ล้อที่ใช้ม้าลาก ต่อมาในปีค.ศ.1480 ได้ทีการประดิษฐ์รถม้าโดยสาร ในประเทศอังกฤษเป็นครั้งแรก และในช่วงต้นศตวรรษที่ 18 มีการประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้ำเพื่อช่วยพัฒนาการขนส่งทางเรือและรถไฟ มีการเปิดให้บริการรถไฟไอน้ำขึ้นในประเทศอังกฤษขบวนแรก ค.ศ.1825


พัฒนาการขนส่งทางน้ำ

การขส่งทางน้ำถือว่าเปนการขนส่งที่เก่าแก่มามากที่สุดในโลก มีการพัฒนาแพขึ้นมาจากท่อนไม้ และต่อมานำต้นไม้ทั้งต้นมาขุด เป็นลำเรือ ต่อมาได้มีการพัฒนาเรือที่ใช้เครื่องจีกรไอน้ำทำให้สามารถแล่นได้รวดเร็วและไกลขึ้น ในค.ศ.1815 มีการต่อเรือสำราญที่สมบรูณ์ ในสงครามโลกครั้งที่ 1 เรือสำราญได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากเศรษฐกิจตกต่ำ มีการลดราคาการเดินทางลง

พัฒนาการขนส่งทางอากาศ

ค.ศ.1903 พี่น้อตระกูล Wright ได้ประดิษฐ์เครื่องบินขึ้นเป็นครั้งแรก ใรสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1ธุรกิจครั้งแรกเกิดขึ้นระหว่าง London และ Paris มีการส่งผู้โดยสารครั้งแรกเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา บินระหว่าง Boston กับ NewYork และในค.ศ.1927 ได้เริ่มจ้างพนักงานบนเครื่องบินขึ้น สงครามโลกคั้งที่ มีการผลิตเครื่องบินโบอิ้ง แล้วก็พัฒนามาเป็นเครื่องบิน Jumbo ไดอพ่นขนาดใหญ่

ประเภทของธุรกิจการคมนานคมขนส่งเพื่อการท่องเที่ยว

1.ธุรกิจการขนส่งมางบก

- การเดินทางท่องเที่ยวโดยรถไฟ

- การเดินทางท่องเที่ยวโดยรถยนต์ส่วนตัว : นิยมมากเพราะประหยัด สะดวก

- การเดินทางท่องเที่ยวโดยรถเช่า

2. ธุรกิจการขนส่งทางน้ำ

- เรือเดินทะเล : เป็นเรือคมนาคมขนส่งจากเมืองท่าหนึ่งไปอีกเมืองหนึ่ง และมักเป็นฤดูกาล

- เรือสำราญ : เรือสำราญคล้ายโรงแรมลอยน้ำ เพราะ มีสิ่งอำนวยความสะดวกครบคัน

- เรือข้ามฟาก

- เรือไบและเรือยอร์ช

- เรือบรรทุกสินค้า

3. ธุรกิจการขนส่งทางอากาศ

- การบินลักษณะเที่ยวบินประจำ

- เที่ยวบินประจำภายในประเทศ

- เที่ยวบินประจำระหว่างประเทศ